วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557



บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน 2557

ส่งของเล่นวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาเเต่ละคนพร้อมกับการจัดหมวดหมู่ของเล่นเเต่ละชนิดพร้อมทั้งนี้อาจารย์ก็ได้เเนะนำเทคนิคดีๆในการสรรค์สร้างที่หลากหลายเเละเหมาะสมกับเด็กปฐมวัย




การนำเสนองานวิจัยหน้าชั้นเรียนมีดังนี้

เรื่องที่ 1 เรื่องการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบศิลปะสร้างสรรค์



ประเมินเด็ก 6 ทักษะ คือ
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการจำแนก
3. ทักษะการวัด
4. ทักษะการลงความเห็น
5. ทักษะมิติสัมพันธ์
6. ทักษะการสื่อความหมาย
โดยมีตัวอย่าง 6 กิจกรรมดังต่อไปนี้
ศิลปะย้ำ
ศิลปะปรับภาพ
ศิลปะเลียนเเบบ
ศิลปะถ่ายโยง
ศิลปะบูรณาการ
ศิลปะค้นหา
วิธีการ เช่น (หน่วยเครื่องครัว)
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะการจำ
เพื่อพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อพัฒนาการลงความเห็น
อุปกรณ์
กะทะ/ตะหลิว/หม้อ/มีด/ทัพพี
สื่อ
ไข่เจียว/เเกงจืด
โดยครูจะใช้คำถามเป็นตัวกระตุ้นเด็ก เช่น" ในการทำอาหารเหล่านี้ใช้เครื่องปรุงอะไรบ้าง "หรือ "ในการประกอบหารเเต่ละชนิดใช้อุปกรณ์ใดบ้างในการประกอบอาหาร"
จากนั้นให้เด็กลงมือทำอาหาร เมื่อเสร็จแล้วให้มาเเลกเปลี่ยนกันชิมและออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน

เรื่องที่ 2  เรื่องการบันทึกประกอบประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อความสามารถทางมิติสัมพันธ์

มิติสัมพันธ์คือ ความสามารถในการมองเห็น ความเข้าใจ การสังเกต จำแนก รูปร่าง รูปทรง ขนาด และความสัมพันธ์ของวัตถุ
วิธีการ
1. จัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำต่อสื่อโดยตรง โดยการสังเกต
2. พูดคุยเเละนำเสนอสื่อหน้าชั้นเรียน
3. บันทึกโดยการวาดภาพระบายสี

เรื่องที่ 3เรื่องผลการจัดประสบการณ์โดยใช้กระบวนการสือเสาะทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้เกิดทักษะการจำแนก





การจำเเนก คือ ความสามรถในการจัดกลุ่ม เรียงลำดับ หาความสัมพันธ์ สถานที่ สิ่งเเวดล้อม ปรากฎการธรรมชาติโดยมีหลักเกณฑ์ ความเหมือน ความต่างหรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยใช้เเบบประเมินทักษะการจำแนกสำหรับเด็กปฐมวัยที่ได้สร้างขึ้น

เรื่องที่ 4 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับประสบการณ์จากการใช้กิจกรรมมุ่งเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการเล่นตามมุมวิทยาศาสตร์อย่างมีแบบแผน



  

มีจุดประสงค์
เด็กบอกชื่อ/ชนิดของสัตว์ได้
บอกลักษณะ ความเหมือนความต่าง ของสัตว์ได้
เปรียบเทียบ ขนาด เล็ก/ใหญ่
ร่วมสนทนาพูดคุยกับครู
เล่าหรืออธิบายเรื่องราวได้
ขั้นตอน
1. แบ่งหน่วยการเรียนรู้
2. ใช้แผนการเรียนรู้ของปฐมวัย
3. ใช้เวลาครั้งละ 40 นาที
สรุป
เด็กมีกระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ดีขึ้นหลังจากการทำวิจัย
 การทำวาฟเฟล

ขั้นเตรียมอุปกรณ์/วัสดุ


  1. ถ้วยสำหรับตีแป้ง
  2. ถ้วยตวง
  3. ไม้ตีแป้ง
  4. ช้อน/ส้อม
  5. เครื่องทำวาฟเฟล
  6. แปรงทาเนย
  7. แป้งทำวาฟเฟล
  8. ไข่ไก่
  9. เนย
  10. น้ำเปล่า
เตรียมพร้อมแล้วค่ะ





วิธีการทำ

เทเเป้ง 1 ถุงลงในถ้วยสำหรับตีเเป้ง


ตอกไข่ใส่1ฟองพร้อมกับเนย



ตีส่วนผสมให้เข้ากันเติมน้ำเปล่าทีละนิดเพื่อไม่ให้เนื้อปแป้งเหลวมากจนเกินไป



เมื่อได้ตีส่วนผสมทุกอย่างเข้ากันเเล้วเตรียมต่อไปอบขนมกันเลยค่ะโดยก่อนอบเราจะทาเนยที่ตัวเครื่องทำขนมทั้งด้านบนเเละด้านล่าง


เทเเป้งตรงกลางของเครื่องทำขนมปิดฝารอสักครู่จนกว่าไฟที่ตัวเครื่องจะดับเป็นอันเสร็จ



ผลงานหลังทำขนมเสร็จ




เทคนิคการสอนในห้องเรียน

  1. สอนโดยการให้ลงมือกระทำด้วยตนเอง
  2. ใช้คำถามเป้นตัวกระตุ้นเพื่อการนำมาซึ่งคำตอบที่มีความหลากหลาย
  3. ใช้ศัพท์ภาษาอังกฤษเพือ่เตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคอาเซียน

การนำไปประยุกต์ใช้

  1. สำรวจเเละสังเกตเด็กขณะที่เด็กทำกิจกรรมเพื่อการออกเเบบการเรียนรู้ที่ดีเเละมีประสิทธิภาพสำหรับตเด็กปฐมวัย
  2. การจัดสภาพเเวดล้อมที่ดีมีส่วนช่วยในการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก คือหากสภาพเเวดล้อมดี สะอาด และ ปลอดภัย เด็กจะเปิดประสบการณ์ในการเรียนรู้อย่างเต็มที่
คำศัพท์(Glossary)

  1. การทำอาหาร (Cooking)
  2. สภาพเเวดล้อม (The unit surrounded)
  3. อำนวยความสะดวก (Facilitate)                             
  4. ส่วนผสม (ingredient)
  5. ถ้วยตวง (Measuring)
  6. การทำขนม (Merchants)
  7. มีความสุข (Blessed)

การประเมินหลังการเรียนการสอน
ประเมินตนเอง ชอบการทำขนมมาก เป็นการทำขนมครั้งเเรก การได้ลงมือทำด้วยตัวเองไม่ว่าจะเป็นเด็ก หรือผุ้ใหญ่ก็สามารถเรียนรู้ได้ดีมากกว่าเรียนในหนังสือ
การประเมินเพื่อน เพื่อนตื่นเต้นกันมากๆ เพื่อมีความสุขกับการทำขนม ในเรียนเเละเล่นในเวลาเดียวกัน
ประเมินอาจารย์ อาจารย์คอยอำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมพร้อมกับหาความรู้เเละข้อมูลใหม่ๆไปพร้อมๆกับนักศึกษาจึงทำให้การเรัียนรู้ออกมามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น