บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วันพฤหัสบดีที่ 12 ตุลาคม 2557
นำเสนอการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่องที่ 1 เรื่องการส่งเสริมทักษะการสังเกตุโดยใช้เกมการศึกษาโดยใช้6กิจกรรม
เนื่องจากเด็กขาดทักษะการสังเกตุโดยมีวัตถุประสงค์คือให้นักเรียนมีทักษะในการสังเกตุเพิ่มมากขึ้นใช้เครื่องมือเป็นการการศึกษาเป็น 4 เกม
1. ภาพเหมือน
2. จับคู่ภาพเงา
3. ภาพตัดต่อ
4. การสังเกตุความเหมือนความต่าง
สรุปอนุบาล 3 ทั้งหมดมีทักษะการสังเกตที่ดีขึ้นโดยใช้กิจกรรมที่ครูคอยกระตุ้นการสังเกตเป็นเครื่องมือต้นๆที่เด็กใช้เก็บข้อมูลในการเรียนรู้
เรื่องที่ 2 เรื่องทักษะทางพื้นฐานของเด็กโดยใช้กิจกรรมการเล่านิทาน
จุดมุ่งหมายคือเพื่อเปรียบเทียบพื้นฐานทั้งก่อนเเละหลังการฟังนิทาน
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็น
1. แผนการสอนโดยใช้นิทาน
2. แบบทดสอบทางวิทยาศาสตร์(นิทาน)
โดยมีกิจกรรมต่อเนื่องจากนิทาน เช่น
การจำลองเรือกระดาษ/ ลูกแก้วในนิทานมากกว่า 3ลุก / เรือจมน้อยกว่าเรือที่ลอย
สรุปเด็กมีทักษะการฟังนิทานที่ดีขึ้นโดยผ่านทักษะทางวิทยาศาสตร์เช่น รูปทรง การสังเกตุ การจำเเนก การสื่อสาร
เรื่องที่ 3 เรื่องการศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
โดยมีวัตถุประสงค์คือ
1. ผลของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. เปรียบเทียบ ก่อน - หลังการทดลอง
สรุป ศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์โดยเน้นการทดสอบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. สร้างความคุ้นเคย
2. ทดสอบด้วยบททดสอบ
3. ประเมินทางสถิติ
เป็นการเรียนการสอนที่ให้อิสระกับเด็ก เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง โดยครูสนทนากับเด็กตลอดกิจกรรม
เรื่องที่ 4 เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมจากสีธรรมชาติที่มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดยมีจุดมุ่งหมาย
1. เพื่อศึกษาสีจากธรรมชาติ
2. เพื่อทดสอบเด็ดทั้งก่อน / หลังจากทำกิจกรรม
วิธีการ
กำหนดกลุ่มตัวอย่าง
เรื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
1. แผนการสอนจากสีธรรมชาติ
2. แบบทดสอบทักษะทางวิทยาศาสตร์
ขั้นตอน
1. เปิดให้เด็กค้นหาข้อมูลด้วยตนเอง
2. ทำการทดลองจากสีธรรมชาติ
3. ทำการสังเกตุ
.......การทดสอบด้วยตนเองควรสอนในช่วงการจัดประสบการณ์ เช่น การทำสีจากดอกไม้
เรื่องที่ 5 เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้รับจากการทำศิลปะสร้างสรรค์
เครื่องมือ
1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
2. แบบทดสอบกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง โดยมีครูคอยจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และอำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมให้เเก่เด็กในการทำกิจกรรม เด็กสามารถตอบคำถามด้วยตนเองได้ซึ่งทำให้เด็กเข้าใจเเละจดจำ
การเรียนรู้ตลอดไป
เรื่องที่ 6 เรื่องการคิดวิจารณณานของเด็กที่ได้รับจากการสังเคราะห์
กิจกรรมทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ บอกถึงการจัดหมวดหมู่ คุณสมบัติ รูปร่าง ลักษณะ โดยให้เด็กได้ลงมือกระทำ และได้สังเกตุอุปกรณ์
เด็ก ฟัง สังเกต สืบค้น ทดลอง คิดเเก้ปัญหาและสรุปผล
ครูใข้คำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของเด็ก จะต้องให้เด็กรับประสลการณ์ตรงด้วยตนเอง ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
การทดลอง
หน่วย ลมฟ้าอากาศ /หน่วยน้ำการไหลของน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ/การจมการลอย
เรื่องที่ 7 เรื่องการคิดอย่างมีเหตผลของเด็กปฐมวัยที่ใช้ประสบการณ์สร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดหมาย เพื่อเปรียบเทียบความคิดอย่างมีเหตผลระหว่างศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เเละศิลปะเเบบปกติ
เครื่องมือ
1. แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
2. แบบทดสอบรูปภาพเหมือนจริงแผนกิจกรรมสร้างภาพจากเมล็ดพืช
กระบวนการ
1. รับรู้ประเด็นปัญหา
2. ทดลองปฏิบิติ/ประเด็นปัญหา
3. หาคำตอบ
4. สรุป
เทคนิคการสอนในห้องเรียน
1. การอธิปรายเหตผลในชั้นเรียน
2. การใช้คำถามกระตุ้นการเรียนรู้ของนักศึกษา
3. การใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคประชาคมอาเซียน
การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยหลายๆเรื่องมาเปิดโลกทัศน์ของตนเองเพื่อเป็นเเนวทางในการจัดการเรียนรู้เพื่อเด็กปฐมวัยสืบต่อไป
การทดลอง
หน่วย ลมฟ้าอากาศ /หน่วยน้ำการไหลของน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ/การจมการลอย
เรื่องที่ 7 เรื่องการคิดอย่างมีเหตผลของเด็กปฐมวัยที่ใช้ประสบการณ์สร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดหมาย เพื่อเปรียบเทียบความคิดอย่างมีเหตผลระหว่างศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เเละศิลปะเเบบปกติ
เครื่องมือ
1. แผนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
2. แบบทดสอบรูปภาพเหมือนจริงแผนกิจกรรมสร้างภาพจากเมล็ดพืช
กระบวนการ
1. รับรู้ประเด็นปัญหา
2. ทดลองปฏิบิติ/ประเด็นปัญหา
3. หาคำตอบ
4. สรุป
เทคนิคการสอนในห้องเรียน
1. การอธิปรายเหตผลในชั้นเรียน
2. การใช้คำถามกระตุ้นการเรียนรู้ของนักศึกษา
3. การใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ยุคประชาคมอาเซียน
การนำไปประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยหลายๆเรื่องมาเปิดโลกทัศน์ของตนเองเพื่อเป็นเเนวทางในการจัดการเรียนรู้เพื่อเด็กปฐมวัยสืบต่อไป
คำศัพท์(Glossary)
1. แผนกิจกรรม(plans)
2. ทักษะ(plans)
3. ปัญหา(issue)
4. เครื่องมือ(tool)
5.จุดประสงค์(aim)
6.ขั้นตอน(step)
7.กระบวนการ( process)
ประเมินหลังการเรียนการสอน
ประเมินตนเอง มีความรู้เข้าใจในงานวิจัยเรื่องต่างๆพร้อมได้กลยุลใหม่ๆมีจัดกิจกรรมที่มีความหลากหลายและเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยมากยิ่งขึ้น
ประเมินเพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และเสนอเเนวคิดดีๆที่เหมาะกับการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์เเก่เด็กปฐมวัยได้อย่างหลากหลาย
ประเมินอาจารย์ อาจารย์คอยเเนะนำเทคนิคการจัดกิจกรรมและการส่งเสริมกระบวนการวิทยาศาสตร์เพื่อให้การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น