บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
วันพฤหัสบดี ที่ 2 สิงหาคม พ. ศ 2557
วันนี้อาจารย์ให้ทำของเล่นวิทยาศาสตร์จากแกนกระดาษทิษชู่
วิธีทำ
นำแกนกระดาษทิษชูมาตัดแบ่งครึ่งและนำกระดาษสีตัดเป็นวงกลมเเละวาดรูปลงไปจากนั้นเจาะกลางกระดาษทิษชู่ตรงกลางสองรูให้ทะลุงทั้งสองด้านจากนั้นนำเชือกมาร้อยจากด้านหนึ่งให้ทะลุไปยังอีกด้านหนึ่งจากนั้นตัดกระดาษที่วาดเสร็จเเล้วแปะลงบนกึ่งกลางของกระดาษทิษชูเป็นอันเสร็จ
วิธีเล่น
จับปลายเชือกทั้งสองข้างเเล้วดึงขึ้นลง สังเกตแกนกระดาษทิษชูจะค่อยๆเคลื่อนขึ้นมาตามเเรงดึง
การนำเสนอบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อุปกรณ์
แกนกระดาษทิษชู่
เชือก
กระดาษสี
กรรไกร
วิธีทำ
นำแกนกระดาษทิษชูมาตัดแบ่งครึ่งและนำกระดาษสีตัดเป็นวงกลมเเละวาดรูปลงไปจากนั้นเจาะกลางกระดาษทิษชู่ตรงกลางสองรูให้ทะลุงทั้งสองด้านจากนั้นนำเชือกมาร้อยจากด้านหนึ่งให้ทะลุไปยังอีกด้านหนึ่งจากนั้นตัดกระดาษที่วาดเสร็จเเล้วแปะลงบนกึ่งกลางของกระดาษทิษชูเป็นอันเสร็จ
วิธีเล่น
จับปลายเชือกทั้งสองข้างเเล้วดึงขึ้นลง สังเกตแกนกระดาษทิษชูจะค่อยๆเคลื่อนขึ้นมาตามเเรงดึง
การนำเสนอบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
บทความเรื่องที่
1 สรุปได้ใจความดังนี้
เรื่องสอนเด็กเรียนวิทยาศาสตร์จากเป็ดและไก่
จัดกิจกรรมชวนเด็กตั้งคำถามในการสืบค้นข้อมูล
- ร้องเพลงและทำท่าทางตามจินตนาการและฟังนิทานเรื่อง หนูไก่คนเก่ง
- ตั้งคำถาม
- สำรวจและรวบรวมข้อมูล
- นำเสนอรูปภาพและบันทึกข้อมูลผ่านรูปภาพ
กิจกรรมนี้เด็กได้แสดงความรู้สึกผ่านคำพูด
การเล่าเรื่อง และการอธิบาย จุดเด่น
บทความเรื่องที่
2 สรุปได้ใจความดังนี้
จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบจากของเล่นวิทยาศาสตร์
นำวัสดุเหลือใช้มาทสิ่งประดิษฐ์ ของของใช้
การประดิษฐ์
-
เด็กประดิษฐ์เอง
-
ครูทำไว้ตามมุม
บทความเรื่องที่
3 สรุปได้ใจความดังนี้
เรื่องการส่งเสริมกระบวนการคิด เด็กมีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกต
และชอบการสำรวจใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5ในการเรียนรู้ โดยอาจจะเริ่มจากการวาดภาพ โยการฝึกให้เด็กสังเกต
ตั้งคำถาม แล้วมาเล่าให้พ่อแม่ฟัง
การบูรณาการมี
2 ประเภท คือ
-
รวมเป็นเนื้อเดียวกัน
-
การแยกสาระ
บทความเรื่องที่ 4 สรุปได้ใจความดังนี้
สอนลูกเรื่องปรากฎการณ์ธรรมชาติ สอนในเรื่องที่มีผลกระทบต่อตัวของเด็กโดยตรง
ในสาระธรรมชาติรอบตัว นำไปสู่การทดลอง และการปฏิบัติจริงจากสถานการณ์จริง
และสถานการณ์จำลอง โดยการใช้คำถามเป็นตัวกระตุ้นให้เด็กเกิดการคิดวิเคราะห์
บทความเรื่องที่
5
สรุปได้ใจความดังนี้
การสอนลูกเรื่อง
อากาศ การเรียนรู้ลักษณะ ความสำคัญ ความจำเป็น ต่อการดำรงชีวิตซึ่งการจัดกิจกรรมนี้
เด็กจะได้คิดและตั้งคำถามและเขาก็จะเป็นผู้หาคำตอบด้วยตัวของเขาเองโดยครูเป็นผู้จัดประสบการตรงให้แก่เด็กได้ทำกิจกรรม
ความรู้ที่ได้รับ
-
การให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนองเด็กจะเรียนรู้ได้ดีและมีประสิทธิภาพสูงสุด
-
เด็กไม่ชอบการบังคับในเรื่องที่เขาไม่สนใจและจะทำให้เขาไม่เกิดการเรียนรู้
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
-
การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัย
-
กระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่บูรณาการกับการเรียนรู้ในสาระการเรียนรู้เรื่องอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เทคนิควิธีการสอนในชั้นเรียน
ทักษะการใช้คำถามปลายเปิด
เพื่อให้ได้แนวคิดของคำตอบที่หลากหลาย
ทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยีในการศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน
คำศัพท์(Glossary)
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ(natural phenomena)
การเรียนรู้ (Learning)
ประสบการณ์จริง(actual experience)
การทดลอง(trials)
การเล่น(play)
ประสาทสัมผัสทั้ง5(The 5 senses)
การประเมินการเรียนการสอน
ประเมินตนเอง : มาเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในชั้นเรียน
ประเมินเพื่อน :
แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มาเข้าเรียนตรงเวลา มีส่วนร่วมในการร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน
ประเมินอาจารย์ : แนะนำเทคนิคการสอนเกี่ยวกับการเรียนรู้ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอย่างตรงประเด็นและเข้มข้นและแนะแนวหลักการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กอย่างตรงประเด็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น